วันศุกร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ความแตกต่างระหว่างการค้าระหว่างประเทศกับการตลาดระหว่างประเทศ

ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ หมายถึง การซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศต่างๆ ประเทศที่ทำการซื้อขายสินค้าระหว่างกัน เรียกว่า "ประเทศคู่ค้า" สินค้าที่แต่ละประเทศซื้อเรียกว่า "สินค้าเข้า" (imports) และสินค้าที่แต่ละประเทศขายไปเรียกว่า "สินค้าออก" (exports) ประเทศที่ซื้อสินค้าจากต่างประเทศ เรียกว่า "ประเทศผู้นำเข้า" ส่วนประเทศที่ขายสินค้าให้ต่าง ประเทศ เรียกว่า "ประเทศผู้ส่งสินค้าออก" โดยทั่วไปแล้ว แต่ละประเทศจะมีฐานะเป็นทั้งประเทศ ผู้นำสินค้าเข้า และ ประเทศผู้สินค้าออกในเวลาเดียวกัน เพราะประเทศต่างๆ มีการผลิตสินค้า แตกต่างกัน เช่น ประเทศไทยส่งสินค้าเกษตรไปขายให้ญี่ปุ่นและสั่งเครื่องมือเครื่องจักรจาก ญี่ปุ่นเข้าประเทศ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจระหว่างประเทศ
ธุรกิจระหว่างประเทศได้เกิดขึ้นมานานหลายยุคหลายสมัย เป็นการดำเนินกิจการที่ข้ามพรมแดนของประเทศไปสู่อีกประเทศหรือมากกว่าและได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่าง มากมาย ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เข้ามากระทบในแต่ละสถานการณ์และเหตุการณ์ต่าง มากมาย ดังนั้น จึงควรที่จะศึกษาถึงความหมายของธุรกิจระหว่างประเทศซึ่งได้มีผู้ให้คำจำกัดความไว้หลายท่าน ดังนี้
ความหมาย
          1. .กตัญญู
2. เป็นการดำเนินธุรกรรมทางธุรกิจระหว่างประเทศทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชนข้ามพรมแดนประเทศ ตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไป
          3. ธุรกิจระหว่างประเทศ คือ ธุรกิจที่ดำเนินกิจกรรมต่าง เกี่ยวข้องกับประเทศอื่น นอกเหนือจากกิจกรรมทางธุรกิจที่ดำเนินงานในท้องถิ่น
          4. International Business is the study of transaction taking place across national borders for the purpose of satisfying the needs of individuals and organizations.
          5. International Business is the sum of all business transactions that cross the borders of two or more nations.
      ความหมายคำศัพท์ทางเทคนิค
          1. Exports – all the goods and services sent from one country to other nations.
          2. Imports - all the goods and services brought into a country that were purchased from organizations located in other countries.
          3. FDI (Foreign Direct Investment) is equity funds invested in other nations. (The FDI is undertaken by MNEs who exercise control of their foreign affiliates.
          4. Multinational Enterprises (MNEs): A company headquartered in one country but having operations in other countries.ex. Exxon (US), Wal-Mart (US), General Motors (US), Royal Dutch/ Shell Group (Britain/ Netherlands), and so on.
          5. Multinational Company (MNC) is a company that is headquartered in one country but has operations in one or more countries.
วัตถุประสงค์ของธุรกิจระหว่างประเทศ
          1. เพื่อเพิ่มยอดขาย
          2. เพื่อแสวงหาแหล่งทรัพยากร
          3. เพื่อขยายตลาดหรือแหล่งวัตถุดิบ
          4. ลดความเสี่ยงทางการแข่งขัน
กลยุทธ์ของการขยายตัวของธุรกิจระหว่างประเทศ
1. กลยุทธ์ในเชิงรุกหรือเชิงรับ
2. กลยุทธ์ดำเนินการด้วยผู้อื่นหรือตนเอง
3. กลยุทธ์ความซับซ้อนในการปฏิบัติงาน
4. กลยุทธ์กระจายตามภูมิภาค
5. กลยุทธ์ในการสอดคล้องตามสภาพแวดล้อม
รูปแบบในการทำธุรกิจระหว่างประเทศ
1. การส่งออกนำเข้าสินค้า
2. การส่งออกนำเข้าบริการ
3. การลงทุน
4. Counter trade
5. การทำสัญญา
อุปสรรคสำคัญที่ทำให้คนไทยจำนวนมาก ไม่สามารถพัฒนาตนเองขึ้นไปเป็นผู้บริหารในต่างประเทศ
1. ขาดความมั่นใจในตัวเองด้าน......
2. คนไทยมีวัฒนธรรมผูกพันกับครอบครัวและญาติมิตร ทำให้บางคนปฏิเสธการไปทำงานที่ต่างประเทศ
3. ระบบสนับสนุนพื้นฐานของประเทศ อาทิ ด้านสังคมและเทคโนโลยี
4. สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ
ดุลการชำระเงิน (Balance of Payments)
          หมายถึง บัญชีที่บันทึกมูลค่าในการทำธุรกรรมทางธุรกิจระหว่างประเทศ ระหว่างผู้พำนักอาศัยในประเทศ (Resident) กับผู้พำนักอาศัยที่ต่างประเทศ (Non-resident) ภายในรอบบัญชีหนึ่ง (ส่วนใหญ่ 1 ปี) ประกอบด้วย
          1. บัญชีเดินสะพัด (The Current Account) มีบัญชีย่อย 4 บัญชี ได้แก่
                   1.1 บัญชีการค้า/ดุลการค้า (Balance of Trade) คือ บัญชีที่บันทึกมูลค่าในการส่งออกและนำเข้าสินค้า
                   1.2 บัญชีบริการ/ดุลบริการ (Services Balance) คือ บัญชีที่บันทึกมูลค่าในการส่งออกและนำเข้าบริการ
                   1.3 รายได้ที่มาจากการลงทุน (Investment Income)
          2. บัญชีทุน/ทุนเคลื่อนย้าย (The Capital Account)
                   2.1 ภาคเอกชน (Private Sector)
                             2.1.1 ระยะสั้น
                             2.1.2 ระยะยาว
                   2.2 ภาครัฐบาล (Public Sector)
                             2.2.1 ระยะสั้น
                             2.2.2 ระยะยาว
          3. บัญชีบริจาค/เงินโอน/ช่วยเหลือ (Unilateral Transfer)
          4. ทุนสำรองระหว่างประเทศ (Reserve Authority Funds)
แนวคิดของธุรกิจระหว่างประเทศ
1. Ethnocentric Orientation (แนวคิดมองประเทศแม่เป็นหลัก)
2. Polycentric Orientation (แนวคิดที่สอดคล้องในแต่ละประเทศ)
3. Geocentric Orientation (แนวคิดที่มองโลกเป็นตลาดเดียว)

1 ความคิดเห็น: